การแปลง ฟาเรนไฮต์

ใช้กล่องค้นหาเพื่อค้นหาตัวแปลงเมตริกที่ต้องการของคุณ

ฟาเรนไฮต์

  • หน่วยของ:

    • อุณหภูมิ

    ใช้ทั่วโลก:

    • สเกลวัดฟาเรนไฮต์ถูกแทนที่ด้วยสเกลวัดเซสเซียสในประเทศส่วนใหญ่ในระหว่างช่วงกลางจนถึงช่วงปลายศตวรรษที่ 20 แม้ว้าฟาเรนไฮต์ยังคงเป็นสเกลวัดอย่างเป็นทางการของสหรัฐอมริกา, หมู่เกาะเคย์แมน และเบลีซ
    • แคนาดายังคงใช้ฟาเรนไฮต์เป็นสเกลวัดเพิ่มที่สามารถใช้ควบคู่ไปกับเซสเซียว และในอังกฤษสเกลวัดฟาเรนไฮต์ยังคงใช้กันอย่างไม่เป็นทางการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแง่ของการแสดงอากาศร้อน (แม้ว่า อากาศเย็นจะยังคงแสดงสเกลวัดเป็นเซสเซียสโดยทั่วไปด้วย)

    คำจำกัดความ:

    ฟาเรนไฮต์เป็นระบบการวัดอุณหภูมิแบบอุณหพลศาสตร์ ซึ่งจุดเหยือกแข็งของน้ำอยู่ที่ 32 องศาฟาเรนไฮต์ (°F) และจุดเดือดอยู่ที่ 212 องศาฟาเรนไฮต์ (ที่ความดันอากาศมาตรฐาน) สิ่งนี้จะอยู่ในจุดเดือดและจุดเหยือกแข็งของน้ำประมาณ 180 องศาแยกจากกันอย่างชัดเจน ดังนั้น องศาของระบบการวัดฟาเรนไฮต์อยู่ที่ 1/180 ของช่องว่างหระหว่างจุดเหยือกแข็งและจุดน้ำเดือด อนึ่ง ศูนย์สัมบูรณ์จะถูกก

    ที่มา:

    ใช้ขึ้นในปี ค.ศ. 1724 และได้ชื่อหลังจากนั้น นักฟิสิกส์ชาวเยรมัน ชื่อ Daniel Gabriel Fahrenheit (1686–1736) โดยฟาเรนไฮต์เป็นผู้บุกเบิกการผลิตเทอร์โมมิเตอร์ด้วยการใช้ปรอท ได้กำหนดให้ 0°F เป็นอุณหภูมิที่เสถียรเมื่อเทียบเท่ากับจำนวนของน้ำแข็ง น้ำ และเกลือที่ผสมกัน จากนั้น เขากำหนดให้ 96°F เป็นอุณหภูมิ "เมื่อเทอร์โมมิเตอร์อยู่ในช่องปาก หรืออยู่ภายใต้รักแร้ของมนุษย์ที่มีชีวิตและมีสุขภาพดี"

    ผลที่ตามมาคือ อุณหภูมิเยือกแข็งของน้ำถูกกำหนดใหม่ให้ชัดเจนที่ 32°F และอุณหภูมิของร่างกายปกติของมนุษย์อยู่ที่ 98.6°F

    การอ้างอิงโดยทั่วไป:

    • ศูนย์สัมบูรณ์ -459.67°F
    • จุดเหยือกแข็งของน้ำ 32°F
    • วันที่อุ่นของฤดูร้อยมีอุณหภูมิอยู่ที่ 72°F
    • อุณหภูมิร่างกายตามปกติของมนุษย์ 98.6 ฟาเรนไฮต์
    • จุดน้ำเดือนที่ชั้นบรรยากาศชั้นที่ 1 อยู่ที่ 212°F