เมตร
หน่วยของ:
- ความยาว/ ระยะทาง
ใช้ทั่วโลก:
- เมตร เป็นส่วนหนึ่งของระบบมาตราเมตริก ใช้กันเป็นมาตรวัดระยะทางทั่วโลก ยกเว้นหลัก ๆ ที่ใช้ในสหรัฐอเมริกา ซึ่งระบบอิมพีเรียลยังคงใช้สำหรับจุดประสงค์ส่วนมาก
คำจำกัดความ:
เมตรเป็นหน่วยวัดความยาวในระบบเมตริก และเป็นหน่วยความยาวพื้นฐานในระบบหน่วยวัดระหว่างประเทศ (International System of Units หรือ SI) ด้วย
เนื่องจากหน่วยความยาวพื้นฐานในระบบ SI และระบบ m.k.s. อื่น ๆ (โดยมีพื้นฐานอยู่ประมาณเมตร กิโลเมตร และวินาที) อนึ่ง เมตรจะใช้เพื่อช่วยการมาจากหน่วยวัดอื่น ๆ เช่น นิวตันสำหรับวัดแรง
คำจำกัดความ:
1 ม. เทียบเท่ากับ 1.0936 หลา หรือ 39.370 นิ้ว
ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1983 เมตรได้ถูกกำหนดอย่างเป็นทางการให้เป็นความยาวของทางที่เดินทางโดยแสงในสูญญากาศระหว่างช่วงระยะเวลา 1/299,792,458 วินาที
ที่มา:
การวัดหน่วยตามทศนิยมได้นำเสนอตอนแรกในช่วงปลายศตวรรษที่ 17 ด้วชื่อของเมตรที่มีรากมาจากคำว่า métron katholikón ซึ่งเป็นภาษากรีก โดยมีความหมายว่า 'การวัดสากล'
คำจำกัดความของเมตรในช่วงแรก คือ "ความยาวของลูกตุ้มซึ่งแกว่งในระยะเวลาครึ่งหนึ่งของหนึ่งวินาที" โดยในศตวรรษที่ 18 คำจำกัดความจะมีพื้นฐานอยู่บน "หนึ่งส่วนสิบล้านของความยาวเส้นเมริเดียนของโลกต่อหนึ่งจตุภาค" (ระยะทางจากเส้นศูนย์สูตรไปขั้วโลกเหนือ) ซึ่งได้รับความนิยิม และเป็นคำจำกัดควาที่ได้รับการยอมรับเมื่อประเทศฝรั่งเศสพัฒนาระบบมาตราเมตริกในปี ค.ศ. 1795
บาร์เมตรต้นแบบ - อย่างแรกก็เป็นทองเหลือ ต่อมาเป็นแพลตตินัม แล้วกลายเป็นแพลตตินัมอัลลอยด์/ไอริเดียมอัลลอยด์ - ซึ่งผลิตขึ้นเป็นมาตรฐานที่สืบทอดกันมาของเมตร ในปี ค.ศ. 196 เมตรถูกำหนดใหม่ให้ใช้เป็นความยาวคลื่นของรังสี ก่อนที่จะมีคำจำกัดความปัจจุบัน ซึ่งสัมพันธ์กันกับแมตรต่อความเร็วแสง ซึ่งได้ปรับใช้ในปี ค.ศ. 1983
การอ้างอิงโดยทั่วไป:
- มนุษย์ผู้ชายของความสูงเฉลี่ยอยู่ที่ประมาณ 1.75 เมตร
- อุปสรรค์ที่ใช้ในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกอุปสรรค์ 110 เมตร เป็น 1.067 เมตร
- อาคารที่สูงที่สุดในโลก (ณ ปี ค.ศ. 2012) ที่ Burj Khalifa ในดูไบสูง 828 เมตร
- ตึกเอ็มไพร์มสเตทในเมืองนิวยอร์คซิตี้สูง 381 เมตร
- เกณฑ์มาตรฐานของรางรถไฟ (ระยะห่างระหว่างรางที่) เป็น 1.435 เมตร
หน่วยประกอบ:
- 1/100 ม. = หนึ่งเซนติเมตร
- 1/1,000 ม. = หนึ่งมิลลิเมตร
- ให้ศึกษาไมโครเมตร, นาโนเมตร, พิโคเมตร, เฟมโตเมตร, อะโตเมตร, อัตโตเมตร, เซปโตเมตร และยอกโตเมตรด้วย
หลากหลาย:
- ส่วนใหญ่จะใช้ตัวคูณโดยทั่วไปเป็น กิโลเมตร (1,000 ม.) แต่มีตัวคูณในระบบ SI อื่น ๆ เป็นจำนวนมากของเมตร รวมถึงเดคาเมตร (10 ม.) เฮกตาร์เมตร (100 ม.) และเมกะเมตร (หนึ่งล้าานเมตร)
- ตัวคูณในระบบ SI ที่ใหญ่ที่สุดของเมตร คือ ยอตตะเมตร (1,000,000,000,000,000,000,000,000 เมตร)